ความเป็นมาและความหมาย สวัสติกะ Swastika
Swastika
สวัสติกะเป็นกางเขนหรือกากบาทแบบหนึ่งที่ตอนปลายหักเป็นมุมฉาก อาจจะหันไปทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ การใช้สวัสติกะมีมาตั้งแต่ยุคหินใหม่ในบริเวณที่ปัจจุบันคืออินเดีย บางครั้งก็ใช้เป็นลายตกแต่งเรขาคณิต หรือใช้เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาโดยเฉพาะในศาสนาทางตะวันออก เช่น ฮินดู, พุทธ และเซน (ภาษาสันสกฤ สวัสติกะหมายถึง ศิริมงคล, โชคดี, การดำรงอยู่ หรือ การมีชีวิต) แม้ว่าจะเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปแต่เมื่อนาซีเยอรมนีนำมาใช้ มันก็กลายเป็นสัญลักษณ์ต้องห้ามในโลกตะวันตก โดยสวัสติกะของฝ่ายนาซีจะมีปลายหักเป็นมุมฉากขวา และตัวสวัสติกะทั้งหมดจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S สองตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า “Stadt” แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า “Sicherheit” แปลว่า ปลอดภัย
ที่มา
http://forums.suratrooster.com/lofiversion/index.php/t1780.html
สวัสติกะเป็นกางเขนหรือกากบาทแบบหนึ่งที่ตอนปลายหักเป็นมุมฉาก อาจจะหันไปทางซ้ายหรือทางขวาก็ได้ การใช้สวัสติกะมีมาตั้งแต่ยุคหินใหม่ในบริเวณที่ปัจจุบันคืออินเดีย บางครั้งก็ใช้เป็นลายตกแต่งเรขาคณิต หรือใช้เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาโดยเฉพาะในศาสนาทางตะวันออก เช่น ฮินดู, พุทธ และเซน (ภาษาสันสกฤ สวัสติกะหมายถึง ศิริมงคล, โชคดี, การดำรงอยู่ หรือ การมีชีวิต) แม้ว่าจะเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปแต่เมื่อนาซีเยอรมนีนำมาใช้ มันก็กลายเป็นสัญลักษณ์ต้องห้ามในโลกตะวันตก โดยสวัสติกะของฝ่ายนาซีจะมีปลายหักเป็นมุมฉากขวา และตัวสวัสติกะทั้งหมดจะเอียงทำมุม 45 องศากับแนวระนาบ หากสังเกตดูจะพบว่าเป็นรูปอักษรโรมันตัว S สองตัวซ้อนกัน ซึ่งย่อมาจากคำในภาษาเยอรมัน โดย S ตัวหนึ่งมาจากคำว่า “Stadt” แปลว่า บ้านเมือง และอีกตัวหนึ่งมาจากคำว่า “Sicherheit” แปลว่า ปลอดภัย
ที่มา
http://forums.suratrooster.com/lofiversion/index.php/t1780.html
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น