เรื่องขององุ่นแดง
องุ่นแดงมีสีตั้งแต่แดงเรื่อๆ จนแดงเข็มเหมือนกับดำ เช่นองุ่นพันธุ์ black pearl เป็นต้น สีแดงนั้นเป็นเม็ดสีและมีอยู่ที่ผิวองุ่นพันธุ์เท่านั้น และผิวองุ่นมีน้ำหนักเฉลี่ยเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักผล หากคั้นน้ำองุ่นแดงจะได้น้ำที่ปราศจากสีเจือปนสีแดงขององุ่นเป็นสารสีแอนโธชัยนิน ซึ่งเป็นกลุ่มสารฟินอลที่มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ โดยเชื่อว่าจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและซะลอความแก่เป็นต้น องุ่นแดงที่ใช้ทำไวน์จะมีสารดังกล่าวอยู่ 1.0 ถึง 2.8 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่น ซึ่งสูงกว่าองุ่นแดงที่รับประทานสดที่มีอยู่เพียง 0.07 ถึง 0.15 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่นสดเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้ได้รับสารที่มีประโยชน์อย่างเต็มที่ครั้งต่อไปควรรับประทานองุ่นสีแดงเข้มและควรเคี้ยวเปลือกองุ่นให้แหลกเพื่อปลดปล่อยสารแอนโธชัยนินออกมาให้มากที่สุด
โครงการเผลแพร่ความรู้และผลงานวิชาการผ่านสื่อหนังสือพิมพ์
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องุ่นแดงมีสีตั้งแต่แดงเรื่อๆ จนแดงเข็มเหมือนกับดำ เช่นองุ่นพันธุ์ black pearl เป็นต้น สีแดงนั้นเป็นเม็ดสีและมีอยู่ที่ผิวองุ่นพันธุ์เท่านั้น และผิวองุ่นมีน้ำหนักเฉลี่ยเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักผล หากคั้นน้ำองุ่นแดงจะได้น้ำที่ปราศจากสีเจือปนสีแดงขององุ่นเป็นสารสีแอนโธชัยนิน ซึ่งเป็นกลุ่มสารฟินอลที่มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ โดยเชื่อว่าจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและซะลอความแก่เป็นต้น องุ่นแดงที่ใช้ทำไวน์จะมีสารดังกล่าวอยู่ 1.0 ถึง 2.8 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่น ซึ่งสูงกว่าองุ่นแดงที่รับประทานสดที่มีอยู่เพียง 0.07 ถึง 0.15 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่นสดเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้ได้รับสารที่มีประโยชน์อย่างเต็มที่ครั้งต่อไปควรรับประทานองุ่นสีแดงเข้มและควรเคี้ยวเปลือกองุ่นให้แหลกเพื่อปลดปล่อยสารแอนโธชัยนินออกมาให้มากที่สุด
โครงการเผลแพร่ความรู้และผลงานวิชาการผ่านสื่อหนังสือพิมพ์
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
http://www.krabork.com/2009/11/27/%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%82%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%b8%e0%b9%88%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%94%e0%b8%87/
โครงการเผลแพร่ความรู้และผลงานวิชาการผ่านสื่อหนังสือพิมพ์
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
องุ่นแดงมีสีตั้งแต่แดงเรื่อๆ จนแดงเข็มเหมือนกับดำ เช่นองุ่นพันธุ์ black pearl เป็นต้น สีแดงนั้นเป็นเม็ดสีและมีอยู่ที่ผิวองุ่นพันธุ์เท่านั้น และผิวองุ่นมีน้ำหนักเฉลี่ยเป็น 10 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักผล หากคั้นน้ำองุ่นแดงจะได้น้ำที่ปราศจากสีเจือปนสีแดงขององุ่นเป็นสารสีแอนโธชัยนิน ซึ่งเป็นกลุ่มสารฟินอลที่มีคุณสมบัติเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิสระ โดยเชื่อว่าจะช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและซะลอความแก่เป็นต้น องุ่นแดงที่ใช้ทำไวน์จะมีสารดังกล่าวอยู่ 1.0 ถึง 2.8 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่น ซึ่งสูงกว่าองุ่นแดงที่รับประทานสดที่มีอยู่เพียง 0.07 ถึง 0.15 มิลิกรัมต่อกรัมขององุ่นสดเท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้ได้รับสารที่มีประโยชน์อย่างเต็มที่ครั้งต่อไปควรรับประทานองุ่นสีแดงเข้มและควรเคี้ยวเปลือกองุ่นให้แหลกเพื่อปลดปล่อยสารแอนโธชัยนินออกมาให้มากที่สุด
โครงการเผลแพร่ความรู้และผลงานวิชาการผ่านสื่อหนังสือพิมพ์
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หนังสือพิมพ์เดลินิวส์
http://www.krabork.com/2009/11/27/%e0%b9%80%e0%b8%a3%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%82%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%b8%e0%b9%88%e0%b8%99%e0%b9%81%e0%b8%94%e0%b8%87/
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น