ทำไม E = mc กำลัง 2 สมการสะท้านโลก
ทำไม E = mc กำลัง 2
เป็นผลของทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ถ้าอยากรู้ละเอียดลองหาหนังสือสัมพัทธภาพพิเศษอ่านดู ในปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิซชั่น
ส่วนใหญ่เขาจะใช้นิวตรอนพลังงานต่ำ
เป็นยิงเข้าไปในธาตุกัมมันตรังสี เพื่อให้ธาตุเกิดการแตกตัวออกเป็นธาตุเล็กๆ
เขาพบว่ามวลรวมหลังจากการเกิดปฏิกิริยามีค่าลดลง
และมีพลังงานความร้อนในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(ความร้อน)เพิ่มขึ้น พร้อมกับให้นิวตรอนเเพิ่มจากเดิมหลายเท่าตัวเพื่อไปทำปฏิกิริยาต่อ กลายเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่
ถ้าเป็นกรณีของเตาปฏิกรณ์ปรมณู
จะมีแท่งคาร์บอนช่วยดูดซับนิวตรอนพวกนี้ แต่ถ้าไม่มีตัวดูดซับนิวตรอนก็ไม่สามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ ปฏิกิริยานี้ก็จะกลายเป็นระเบิดปรมณูไป
สามารถแปลความหมายของสมการนี้ได้คือ
"มวลคือพลังงาน พลังงานคือมวล" ที่มาของสมการนี้ต้องไปดูในหนังสือที่เกี่ยวกับ special theory of relativity ดูนะครับ มันเป็นผลของคณิตศาสตร์ กับการลดรูปโน่นนี่อ่ะนะครับ
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เกิดขึ้นภายในนิวคลีออนของอะตอม มองภาพว่า
นิวคลีออนก่อนแตกตัวมีมวลค่าหนึ่ง แต่พอแตกตัวออกมา มวลรวมของมันกลับน้อยลง ..
มวลหายไปไหน ??
มวลที่หายไป (มวลพร่อง) กลายเป็นพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกมานั่นคือคำตอบ
ถ้าจะพูดให้ละเอียดเข้าไปอีกก็คือ ใน
นิวคลีออน อนุภาคจะถูกยึดเหนี่ยวกันด้วยพลังงานอย่างหนึ่ง คือพลังงานยึดเหนี่ยว ซึ่งเป็นแรงนิวเคลียร์ มีพิสัยสั้น (ไม่เหมือนแรงคูลอมป์ ที่มีพิสัยยาว)
จึงเป็นเหตุที่ว่าทำไมประจุบวกกับประจุบวก (โปรตอนหลายตัว)
ถึงอัดแน่นอยู่ที่นิวเคลียสได้ และเมื่อเราวัดมวลของอะตอมนั้น เราได้วัดมวลของพลังงานยึดเหนี่ยวเข้าไปด้วย เมื่อนิวคลีออนเกิดการแตกตัว พลังงานยึดเหนี่ยวถูกปลดปล่อยออกมา ทำให้เราวัดมวลรวมของนิวคลีออนได้ลดน้อยลงไปครับ
ขอขอบคุณ ข้อมูลที่มีประโยชน์จาก เว็บไซต์ วิชาการ ดอทคอม
เพื่อร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บนโลกอินเตอร์เน็ต
http://www.kroobannok.com/2919
เป็นผลของทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ถ้าอยากรู้ละเอียดลองหาหนังสือสัมพัทธภาพพิเศษอ่านดู ในปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิซชั่น
ส่วนใหญ่เขาจะใช้นิวตรอนพลังงานต่ำ
เป็นยิงเข้าไปในธาตุกัมมันตรังสี เพื่อให้ธาตุเกิดการแตกตัวออกเป็นธาตุเล็กๆ
เขาพบว่ามวลรวมหลังจากการเกิดปฏิกิริยามีค่าลดลง
และมีพลังงานความร้อนในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า(ความร้อน)เพิ่มขึ้น พร้อมกับให้นิวตรอนเเพิ่มจากเดิมหลายเท่าตัวเพื่อไปทำปฏิกิริยาต่อ กลายเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่
ถ้าเป็นกรณีของเตาปฏิกรณ์ปรมณู
จะมีแท่งคาร์บอนช่วยดูดซับนิวตรอนพวกนี้ แต่ถ้าไม่มีตัวดูดซับนิวตรอนก็ไม่สามารถควบคุมปฏิกิริยาลูกโซ่ได้ ปฏิกิริยานี้ก็จะกลายเป็นระเบิดปรมณูไป
สามารถแปลความหมายของสมการนี้ได้คือ
"มวลคือพลังงาน พลังงานคือมวล" ที่มาของสมการนี้ต้องไปดูในหนังสือที่เกี่ยวกับ special theory of relativity ดูนะครับ มันเป็นผลของคณิตศาสตร์ กับการลดรูปโน่นนี่อ่ะนะครับ
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เกิดขึ้นภายในนิวคลีออนของอะตอม มองภาพว่า
นิวคลีออนก่อนแตกตัวมีมวลค่าหนึ่ง แต่พอแตกตัวออกมา มวลรวมของมันกลับน้อยลง ..
มวลหายไปไหน ??
มวลที่หายไป (มวลพร่อง) กลายเป็นพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแผ่ออกมานั่นคือคำตอบ
ถ้าจะพูดให้ละเอียดเข้าไปอีกก็คือ ใน
นิวคลีออน อนุภาคจะถูกยึดเหนี่ยวกันด้วยพลังงานอย่างหนึ่ง คือพลังงานยึดเหนี่ยว ซึ่งเป็นแรงนิวเคลียร์ มีพิสัยสั้น (ไม่เหมือนแรงคูลอมป์ ที่มีพิสัยยาว)
จึงเป็นเหตุที่ว่าทำไมประจุบวกกับประจุบวก (โปรตอนหลายตัว)
ถึงอัดแน่นอยู่ที่นิวเคลียสได้ และเมื่อเราวัดมวลของอะตอมนั้น เราได้วัดมวลของพลังงานยึดเหนี่ยวเข้าไปด้วย เมื่อนิวคลีออนเกิดการแตกตัว พลังงานยึดเหนี่ยวถูกปลดปล่อยออกมา ทำให้เราวัดมวลรวมของนิวคลีออนได้ลดน้อยลงไปครับ
ขอขอบคุณ ข้อมูลที่มีประโยชน์จาก เว็บไซต์ วิชาการ ดอทคอม
เพื่อร่วมกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้บนโลกอินเตอร์เน็ต
http://www.kroobannok.com/2919
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น